วันเสาร์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2565

กษัตริย์รัสเซียล่ม


คอมฯ โค่นล้มระบอบกษัตริย์ 



ในอดีตจักรวรรดิรัสเซีย ได้ปกครองในระบบกษัตริย์มาเป็นเวลานาน จนกระทั่งได้มาสิ้นสุดในปี 1917 ในยุคของ "จักรพรรดินิโคลัสที่ 2" หรือ "พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2"
ภายใต้การปกครองของพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 นั้น มีหลายเหตุการณ์ที่ทำให้พระองค์เสื่อมความนิยมลง เช่น
แพ้สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น อย่างน่าขายหน้า หรือ อนุมัติการระดมพลรัสเซียที่เป็นจุดเริ่มต้นสงครามโลกครั้งที่ 1 ทำให้มีชาวรัสเซียเสียชีวิตไป 3.3 ล้านคน เป็นต้น
จักรวรรดิรัสเซียจากที่เคยรุ่งเรืองเป็นหนึ่งในมหาอำนาจชั้นนำของโลก กลับกลายเป็นประเทศที่ล่มสลายทางเศรษฐกิจและทหาร
ศัตรูการเมืองให้สมญาพระองค์ว่า นิโคลัสกระหายเลือด จากเหตุการณ์วันอาทิตย์นองเลือด ซึ่งเป็นการปราบปรามการปฏิวัติอย่างรุนแรงในปี 1905 จบด้วยประหารชีวิตศัตรูทางการเมือง
จนกระทั่งในปี 1917 ก็มาถึงขั้นแตกหัก เมื่อประชาชนหลายแสนคนเข้าชุมนุมประท้วง กรุงเปโตรกราด (เซนต์ปีเตอส์เบิร์ก ในปัจจุบัน) กลายเป็นสมรภูมิขนาดย่อม ที่ผู้ชุมนุมเข้าปะทะกับตำรวจ
ซึ่งต่อมารัฐบาลไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ ตำรวจถูกจับไปสังหารคนแล้วคนเล่าและในช่วงท้าย ทหารผู้น้อยเริ่มไม่ปฏิบัติคำสั่งให้ปราบผู้ชุมนุมนุม และได้สังหารผู้บังคับบัญชาเข้าร่วมการปฏิวัติ สถานการณ์จึงแย่ลงไปอีก
วันที่ 13 มีนาคม กรุงเปโตรกราด ตกเป็นของมวลชนโดยสมบูรณ์ พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 จึงพยายามจะเดินทางกลับวัง แต่ก็ถูกหยุดไว้โดยแม่ทัพ นิโคไล รัซสกี้ ที่เป็นตัวแทนประธานสภา มาแจ้งให้พระองค์ทรงสละบัลลังก์ให้พระโอรสองค์เล็ก อเล็กเซย์ หวังให้มวลชนยอมรับ
แต่ด้วยการที่พระโอรสองค์เล็กมีอาการป่วย พระองค์จึงเลือกสละราชสมบัติให้ พระอนุชามิคาอิลแทน ในวันที่ 15 มีนาคม แต่ประชาชนก็ไม่ยอมรับเพราะชิงชังราชวงศ์โรมานอฟไปแล้ว
มิคาอิล จึงประกาศว่า เขาจะให้ประชาชนรัสเซียเลือกว่าจะปกครองประเทศรูปแบบใด หลังสภาร่างรัฐธรรมนูญขึ้นมา ยุติราชวงศ์โรมานอฟ และสิ้นสุดจักรวรรดิรัสเซีย
แต่ด้วยการที่ประเทศกำลังอยู่ในภาวะสงครามจึงยังเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญไม่ได้รัฐบาลชั่วคราวที่สถาปนาขึ้นหลังการปฏิวัติจึงคุมอำนาจประเทศแทนพระเจ้าซาร์ไปก่อน
กระทั่งเลนินและบอลเชวิค ได้ยึดอำนาจในเดือนตุลาคม 1917 และเกิดเหตุการณ์สังหารหมู่ครอบครัวพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 ขึ้นในปีต่อมา วันที่ 17 กรกฎาคม 1918


วันอังคารที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2565

เทวนิยม กับ อเทวนิม

 

บางทีชาวพุทธเองก็แยกไม่ออก  ระหว่างอเทวนิยม กับ  เทวนิยม  


ตัวอย่างเทวนิยม ชัดๆ


https://www.facebook.com/photo/?fbid=298106372410680&set=gm.4412230252211389




ฉันแข็งกร้าว....ฉันอ่อนแอ... ฉันตระหนี่... โอ้อัลลอฮฺโปรดทำให้ฉันอ่อนโยน...โปรดทำให้ฉันแข็งแกร่ง...โปรดทำให้ฉันใจกว้าง




โดรนที่ดูเหมือนเป็นอิสระ ไม่เห็นมีใครมาหิ้วมันให้ลอยบนฟ้า ความจริงแล้วมันถูกควบคุมในสภาพที่ผู้ควบคุมไม่ต้องเข้าไปสัมผัสมันโดยตรง ซึ่งถ้าคนสมัยโบราณได้เห็นโดรนบินอยู่ ก็คงจะคิดว่ามันมีอำนาจในตัวเองตามธรรมชาติ ไม่ต่างจาก นก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ฯลฯ นั่นเพราะคนสมัยโบราณไม่เข้าใจสภาพการบังคับโดรน

เช่นเดียวกัน อัลลอฮ์ควบคุมดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ชั้นฟ้าทั้งหลาย และแผ่นดินให้ดำเนินกิจการไปตามที่พระองค์ทรงประสงค์ เพียงแต่มนุษย์ไม่เข้าใจวิธีการที่อัลลอฮ์ควบคุมสิ่งเหล่านี้เท่านั้นเอง

https://www.facebook.com/AssabiqoonPublisher/photos/a.541436262620246/4795161953914301/


https://www.facebook.com/groups/800582937198178/?hoisted_section_header_type=recently_seen&multi_permalinks=1025620868027716







วันพุธที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2565

nato

 

ไอ่ที่ข้อมูลจริงไม่อ่านไม่ศึกษา แล้วก็โทษแต่สหรัฐ โทษแต่นาโต้ เดียวอธิบายให้ฟังจะได้รู้ว่ามันทำได้ไหม อ่านด้วยนะอ่านแต่ข่าวปั่น ก็อ่านข่าวจริงบ้าง นาโต (Nato) ย่อมาจาก องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Treaty Organisation) ซึ่งเป็นกลุ่มพันธมิตรด้านการทหารที่ก่อตั้งขึ้นในปี 1949 โดยมีสมาชิกก่อตั้ง 12 ประเทศ คือ เบลเยียม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ โปรตุเกส สหราชอาณาจักร และสหรัฐฯ

ชาติสมาชิกได้ทำข้อตกลงในการให้ความช่วยเหลือซึ่งกัน และกันกรณีที่สมาชิกถูกโจมตีด้วยอาวุธ

วัตถุประสงค์ดั้งเดิมของนาโตคือ เพื่อต่อสู้กับภัยคุกคามจากรัสเซียที่แผ่ขยายอำนาจเข้าไปในยุโรป ช่วงหลังสงครามโลกในปี 1955 รัสเซียได้ตอบโต้องค์การนาโต ด้วยการก่อตั้งพันธมิตรทางทหารของตัวเองขึ้นในหมู่ชาติคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออกที่เรียกว่า องค์การสนธิสัญญาวอร์ซอว์ (Warsaw Pact)

หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี 1991 อดีตชาติสมาชิกองค์การสนธิสัญญาวอร์ซอว์ ก็ได้หันไปเข้าร่วมเป็นสมาชิกนาโต ทำให้ปัจจุบันมีสมาชิกรวมทั้งสิ้น 30 ประเทศ
#รัสเซียมีปัญหาอะไรกับนาโตและยูเครน
ยูเครนเคยเป็นสาธารณรัฐหนึ่งของอดีตสหภาพโซเวียต ที่มีพรมแดนติดกับทั้งรัสเซีย และสหภาพยุโรป (อียู)

#ปัจจุบันยูเครนยังไม่ได้เป็นสมาชิกองค์การนาโต แต่เป็น "ประเทศหุ้นส่วน" ซึ่งหมายความว่า อาจจะได้รับอนุญาตให้เข้าร่วมเป็นสมาชิกในอนาคต

อย่างไรก็ตาม รัสเซียต้องการให้บรรดาชาติมหาอำนาจตะวันตกรับประกันว่า จะไม่รับยูเครนเข้าเป็นสมาชิกนาโต ทว่านี่เป็นข้อเรียกร้องที่ชาติตะวันตกไม่ยอมรับ

นายแอนโทนี บลิงเคน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ได้ปฏิเสธข้อเรียกร้องของรัสเซีย โดยระบุว่า สหรัฐฯ มีหลักการที่ชัดเจน ซึ่งรวมถึงเรื่องอธิปไตยของยูเครน และสิทธิที่ยูเครนจะเลือกเข้าร่วมกลุ่มด้านความมั่นคงต่าง ๆ เช่น นาโต

ยูเครนมีประชากรเชื้อสายรัสเซียอยู่จำนวนมาก ซึ่งมีความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรมอย่างแน่นแฟ้นกับรัสเซีย และในเชิงยุทธศาสตร์ รัฐบาลรัสเซียมองว่า ยูเครนเปรียบเสมือนสวนหลังบ้านของตนเอง
#นาโตจัดการปัญหารัสเซีย-ยูเครน อย่างไรในอดีต
ตอนที่ยูเครนขับประธานาธิบดีที่สนับสนุนรัสเซียลงจากอำนาจเมื่อต้นปี 2014 รัสเซียได้ใช้กำลังผนวกเอาดินแดนในคาบสมุทรไครเมีย ทางภาคใต้ของยูเครนเข้าเป็นของตนเอง นอกจากนี้ ยังให้การหนุนหลังกลุ่มกบฏแบ่งแยกดินดินที่เข้ายึดพื้นที่เป็นวงกว้างทางภาคตะวันออกของยูเครน

นาโตไม่ได้เข้าไปแทรกแซงในเรื่องดังกล่าว แต่ตอบโต้ด้วยการส่งทหารเข้าประจำการในหลายประเทศแถบยุโรปตะวันออกเป็นครั้งแรก โดยมีกองกำลังนานาชาติขนาดเท่ากองพันประจำการอยู่ในเอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ รวมทั้งมีกองกำลังนานาชาติขนาดเท่ากองพลน้อย ประจำการอยู่ในโรมาเนีย นาโตยังได้ขยายอาณาเขตการรักษาความสงบเรียบร้อยในประเทศแถบทะเลบอลติกและยุโรปตะวันออก เพื่อคอยสกัดเครื่องบินรัสเซียที่บินล่วงล้ำน่านฟ้าของชาติสมาชิก

รัสเซียระบุว่า ต้องการให้นาโตถอนกองกำลังเหล่านี้ออกไป

#นาโตให้คำมั่นกับยูเครนอย่างไร
ประธานาธิบดี โจ ไบเดน ของสหรัฐฯ ประกาศว่ารัสเซียมี "ราคาที่ต้องจ่ายมหาศาล" หากรุกรานยูเครน

ขณะนี้ สหรัฐฯ ได้เตรียมพร้อมกำลังรบเอาไว้ 8,500 นาย แต่กระทรวงกลาโหมระบุว่า จะส่งทหารเหล่านี้ไป ก็ต่อเมื่อนาโตตัดสินใจดำเนินปฏิบัติการตอบโต้อย่างฉับพลัน อย่างไรก็ตาม ชี้ว่า สหรัฐฯ ไม่มีแผนการส่งทหารเข้าไปประจำการในยูเครนด้วยตัวเอง นางอันนาเลนา แบร์บ็อค รัฐมนตรีต่างประเทศเยอรมนี เตือนว่า ความตึงเครียดทางทหารที่เพิ่มขึ้น จะทำให้รัฐบาลรัสเซียต้องเผชิญการตอบโต้อย่างรุนแรงในเชิงเศรษฐกิจ การเมือง และยุทธศาสตร์

ส่วนทำเนียบนายกรัฐมนตรีอังกฤษ ระบุว่า สหราชอาณาจักรเห็นพ้องว่า "ชาติสมาชิกนาโตจะออกมาตรการตอบโต้อย่างรวดเร็ว ซึ่งรวมถึงการใช้มาตรการคว่ำบาตรขนานใหญ่อย่างไม่เคยมีมาก่อน (เริ่มทำการคว่ำบาตรแล้ว มูลเงินรัสเซียตกต่ำมาก)

#สรุปให้นะนาโต้ไม่สามารถนำกองกำลังเข้าปะทะตามคำพูดของสลิ่มสมอง...คิดได้เพราะยูเครนยังไม่ได้เป็นประเทศสมาชิก ของ"นาโต้" มันขัดกับกฎหมายของสหพันธ์เขาไอ่...เขาช่วยเท่าที่ช่วยได้ โดนการโจมตีทางการเงินและเศรษฐกิจ เลิกมโนว่าทำไม่บุกไปช่วยได้แล้วไอ่โง่





จีนกลัวชาติตะวันแซงชั่นเตรียมตัวตั้งรับ








รัฐมนตรีต่างประเทศสวีเดนได้รับคำยืนยันจากสหรัฐฯ ว่าจะให้ความช่วยเหลือหากถูกรัสเซียบุกรุกระหว่างรอเข้า NATO




สัปดาห์ก่อนมีรายงานข่าวออกมาว่าบริษัทผลิตรถบรรทุกทางการทหารของรัสเซียเดินทางมาเจรจากับผู้นำรัฐบาลทหารพม่าเพื่อขอใช้พม่าเป็นฐานผลิตรถบรรทุกการทหารของรัสเซีย เนื่องจากรัสเซียถูกแซงชั่นที่อื่น

การเจรจานี้เป็นไปด้วยดี นักสังเกตการณ์อย่างกลุ่ม Justice for Myanmar (JFM) ระบุว่าเรื่องนี้สะท้อนว่ารัฐบาล มิน อ่อง หลาย กระชับความสัมพันธ์กับรัสเซียอย่างแน่นแฟ้น และมีข้อคิดเห็นว่าจะต้องมีการยกระดับกดดันต่อรัฐบาลทหารพม่าเพิ่มขึ้น หากไม่ทำเช่นนี้ก็อาจจะทำให้รัสเซียสามารถขยับทำอะไรได้มากขึ้นเพราะสามารถใช้พม่าเป็นฐานผลิตทางการทหารได้




ทวงคืนยูเครน

https://www.youtube.com/watch?v=E0AIpU5OgHw



งดใช้บริการ

  https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_3724456 https://www.facebook.com/photo/?fbid=491527119790156&set=a.433526435590225 https:...